Microservices คืออะไร
การออกแบบที่แบ่งระบบออกเป็นส่วนย่อย ๆ โดยแต่ละ Service จะต้องสามารถทำงานแยกอิรสะจากกัน หาก Service ใด มีเหตุขัดข้อง ปิดบริการ ระบบงานอื่น ๆ จะต้องไม่ได้รับผลกระทบ
องค์กรแบบไหนที่เหมาะกับ Microservices
องค์กรที่ต้องการระบบที่รอบรับการทำงานในแต่ละส่วนที่อิสระต่อกัน แต่ยังคงต้องการการเชื่อมต่อถึงกันของระบบและข้อมูลทั้งหมด
ทำไมเราต้องใช้ Microservices
ข้อนี้น่าจะซ้ำซ้อน
ข้อดี ของการวางระบบแบบ Microservices
1. สามารถปรับเปลี่ยนไปใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับความรับผิดชอบของ Service นั้นๆได้ง่าย และยืดหยุ่น
2. แต่ละ Service มีอิสระต่อกัน หาก Service ใด มีเหตุขัดข้อง ปิดบริการ ระบบงานอื่น ๆ จะต้องไม่ได้รับผลกระทบ
3. สามารถ Scale แต่ละ Service แยกกันเพื่อรองรับการใช้งานเฉพาะจุดได้
ข้อเสีย ของการวางระบบแบบ Microservices
1. การออกแบบ Microservice นั้นถ้าแบ่งการทำงานของแต่ละ Service ไม่ดี จะทำให้การแก้ไขในภายหลังจะทำได้ยากมาก
2. ความเร็วในการตอบสนอง เนื่องต้องมีสื่อสารกันระหว่าง Service ทำบางการทำงานอาจจะเกิดความล่าช้ากว่าแบบ monolith
3. สถาปัตยกรรมแบบ Microservice นำมาซึ่งความซับซ้อนของ Infrastructure ทำให้ต้องมีการสร้าง Infrastructure แบบ Automate เกือบ 100% เพื่อลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดจากการทำแบบ Manual ซึ่งขั้นตอนที่ใช้เวลาในการทำมาก
ยกตัวอย่างของ Microservices ที่องค์กรใหญ่ใช้กัน
Netflix เป็นบริการสตรีมมิง รับชมซีรีส์และภาพยนตร์ผ่านเว็บ Browser ที่มีจำนวนผู้ใช้งานจำนวนมากทั่วโลก ซึ่งต้องความสามารถของ Microservice ในเรื่องการ Scale เพื่อรองรับผู้ใช้งานที่เพิ่มขึ้น
บริการ พัฒนาซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน ตามความต้องการ!
เราเป็นผู้นำในด้านการให้บริการ พัฒนาซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน และโซลูชันด้านไอที แบบครบวงจร (Full-stack) ตั้งแต่การให้คำปรึกษาไปจนถึงการ Maintenace ระบบ เรามีความตั้งใจที่จะเปลี่ยนให้ นวัตกรรม และไอเดีย ระดับโลกของคุณให้กลายเป็นซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ โดยที่บริษัทรับพัฒนาซอฟต์แวร์ เขียนโปรแกรม และ แอปพลิเคชัน ตามความต้องการทางธุรกิจคุณได้ ทุกรูปแบบ ทุกประเภท ทุกความต้องการทางธุรกิจ หากคุณมีไอเดียดีๆ ที่ต้องการพัฒนา Software หรือ พัฒนา Application สามารถปรึกษาเราได้ที่นี่!