Arthit Hongchintakul

ไวรัสในเครื่องท่านได้แต่ใดมา?

หลายๆคนอาจจะเคยได้ยินได้ฟังมาว่า เครื่องมีไวรัส!  บางคนก็อาจจะได้มีประสบการณ์ด้วยตัวเองมาแล้ว แต่จริงๆแล้วสิ่งนั้นเรียกรวมๆว่า malware (Malicious Software)  ซึ่งหมายถึงซอร์ฟแวร์ที่ประสงค์ร้ายต่างๆ ซึ่งไวรัสก็เป็นหนึ่งในนั้นเช่นกัน แต่!!! จริงๆแล้วที่เราเห็นมี popup เปิดขึ้นมา หรือ เปิด brower แล้วมีแถบโฆษณานั้น ไม่ใช่ไวรัสนะ  แต่คืออะไร มากจากใหน  เราจะได้รู้กันต่อไป  ซึ่งก่อนที่จะไปถึงจุดนั้น  เรามารู้ก่อนว่า malware แต่ละแบบใหนมีอะไรบ้าง ต่างกันอย่างไร และจะป้องกันได้อย่างไร ประเภทของ Malware –  ไวรัส(virus) เป็นชื่อที่เราคุ้นเคยกันดี ไวรัสเป็นโปรแกรมที่ไม่หวังดีชนิดหนึ่ง สามารถแพร่ไปกับไฟล์ ไปยังอีกเครื่องหนึ่งได้ โดยจะต้องอาศัยไฟล์ที่เป็นพาหะ ซึ่งผลของไวรัสขึ้นอยู่กับผู้ที่เขียนไวรัสว่าจะให้ทำสิ่งใด ไม่ว่าจะเป็นการ ขโมยข้อมูล ทำลายข้อมูล หรือกระทั่งทำลายเครื่องให้ไม่สามารถทำงานได้เลย  ซึ่งclassic virus นั้นในปัจจุบันแทบไม่เจอตัวใหม่ๆแล้ว วิธีการป้องกัน : ติดตั้ง Anti-virus –   แอดแวร์หรือสปายแวร์(Adware / Spyware) เน้นๆกับหัวข้อนี้เลย!!! แอดแวร์เป็นมัลแวร์ประเภทหนึ่งที่อาจจะไม่คุ้นหูมาก แต่จริงๆแล้วผู้คนส่วนมากมักโดนและคิดว่าเป็นไวรัส แอดแวร์ไม่ได้ทำให้เครื่องใช้งานไม่ได้ […]

ไวรัสในเครื่องท่านได้แต่ใดมา? Read More »

Block connection บน UBUNTU

Block connection จากที่ไม่พึงประสงค์ได้ง่ายๆ บน UBUNTU

Block connection บน UBUNTU ในserver ทั่วๆๆไปนั้นจะมีการเปิดใช้ Firewall อยู่แล้ว สำหรับFirewallนั้นสามารถconfigได้มากมาย จะblockแบบใหนอย่างไร ซึ่งจะเหมาะกับผู้ดูแลที่มีความเชียวชาญระดับหนึ่ง  แต่หากต้องการblockโดยไม่พึ่งfirewall ก็สามารถทำได้โดยที่ใน ubuntu จะมีไฟล์อยู่สองไฟล์ที่สำคัญคือ /etc/hosts.allow สำหรับไฟล์นี่จะเก็บข้อมูลที่ต้องการจะบอกว่า อนุญาติให้ application ใด connect ได้บ้าง และ /etc/host.deny สำหรับ Drop connection จาก client ที่เราไม่ต้องการ ทีนี่เรามาดูตัวอย่างกันครับ จาก log ใน auth.log ของ ubuntu พบว่ามีเครื่องจาก จีน IP=125.88.177.87 กำลังทำการ brute-force secure shell ด้วย root user [code language=”shell”]Feb 15 03:53:06 platinum sshd[2400]: Received disconnect from

Block connection จากที่ไม่พึงประสงค์ได้ง่ายๆ บน UBUNTU Read More »

ขั้นตอนการตั้งค่า Dynamic DNS และการ Forward Port บนอุปกรณ์ router

ขั้นตอนการตั้งค่า Dynamic DNS บน Router เนื่องจาก Internet Router ตามบ้านมีการเปลี่ยนแปลง IP ทุกครั้งที่ทำการต่อ internet แต่ละครั้ง การที่จะทำให้ Internet Router ที่ใช้งานตามบ้านสามารถรอรับการ remote จากที่ใดๆในโลกได้นั้น จะต้องใช้บริการที่เรียกว่า Dynamic DNS เพื่อให้รออัพเดทค่า IP ที่เปลี่ยนแต่ละครั้ง ซึ่งวิธีการตั้งค่านั้นมีวิธีการดังนี้ Login เข้าไปที่ router ที่ใช้อยู่ ถ้าไม่ได้เปลี่ยน ค่า IP ของ router โดยส่วนมากจะเป็น 192.168.0.1 หรือ 192.168.1.1 หรือ .254 (แล้วแต่รุ่น ดูที่คู่มือประกอบการตั้งค่า) หาเมนู DDNS (โดยส่วนมากชื่อเมนูจะประมาณนี้  เช่นเดิม กรุณาดูคู่มือประกอบการตั้งค่า) ตัวอย่าง เป็นการตั้งค่า DDNS โดยมีProvider เป็น Dyndns.org เลือก

ขั้นตอนการตั้งค่า Dynamic DNS และการ Forward Port บนอุปกรณ์ router Read More »

gem liquid ruby on rails

วิธีการติดตั้งและใช้ gem liquid ruby on rails

ขั้นตอนการติดตั้ง gem liquid ขั้นตอนที่ 1 ใส่ gem ‘liquid-rails’ บน Project ขั้นตอนที่ 2  $ bundle ขั้นตอนที่ 3 $ gem install liquid-rails เมื่อติดตั้ง 3 ขั้นตอนดังกล่าวเสร็จแล้ว เราจะได้โปรเจคที่มี gem liquid ตัวอย่างไฟล์ index.liquid  <ul id=”products”> {% for product in products %} << เป็นแท็กของ liquid ในการ Start loop {% %} <li> <h2>{{ product.name }}</h2> << เป็นแท็กของ liquid ในการโชว์ข้อมูล {{ }} Only {{ product.price

วิธีการติดตั้งและใช้ gem liquid ruby on rails Read More »

วิธีแก้ปัญหา login ใช้งาน Ubuntu แล้วไม่โหลดหน้า launcher (Unity)

เคยหรือไม่  login เข้า user บาง user แล้วไม่โหลด หน้าต่างให้ใช้งานอะไรเลย มีแต่blackground แต่ user อื่นๆใช้งานได้ปกติ วิธีแก้ปัญหาทำได้โดย [code language=”shell”]sudo service lightdm stop[/code] หากใช้งาน หน้า UI อยู่ ระบบจะตัดเข้า shell command [code language=”shell”]sudo rm -rf /home/user-prob/.config/dconf/user[/code] แทน user-prob ด้วย user ที่มีปัญหา [code language=”shell”]sudo service lightdm start[/code] ระบบจะตัดเข้า หน้า UI แค่นี้จะสามารถ login ใช้งานได้เหมือนเดิมแล้ว เพียงแต่ config ต่างๆ (เช่น shortcut key สำหรับเปลี่ยน ภาษา ,

วิธีแก้ปัญหา login ใช้งาน Ubuntu แล้วไม่โหลดหน้า launcher (Unity) Read More »

วิธีเปลี่ยน Desktop Environment Ubuntu

ก่อนจะไปถึงการติดตั้งและการเปลี่ยนนั้น เราจะมาทำความรู้จักกับDE ( Desktop Environment )ซะก่อน Desktop Environment คืออะไร? Desktop Environment คือส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ให้ผู้ใช้นั้นทำงานได้อย่างง่าย หากไม่มีแล้วนั้นก็จะต้องใช้งานผ่าน Terminal ดำๆ ผู้ใช้ที่เป็น End User ก็คงไม่สะดวกเป็นแน่ ดังนั้น linux distro ต่างๆก็จะมี Desktop Environment เริ่มต้นของตัวเองไว้ให้ใช้งาน ซึ่งก็จะมาหลากหลายเช่น Gnome , KDE , Xfce  หรือ Unity ที่ Exclusive สำหรับUbuntu  จริงๆDE ในโลกของLinuxนั้นมีมากกว่านี้ แต่จะขอยกมาแค่เฉพาะที่นิยมในปัจจุบันเท่านั้นนะครับ ***ก่อนทำการติดตั้ง ทำการuninstall ของเก่าออกก่อนให้หมดนะครับ ถ้ามี DE สองตัวอาจจะlogin เข้าใช้งานไม่ได้กันเลยทีเดียว โปรดระวัง Unity Unity Desktop นั้นเป็น DE ที่ทาง

วิธีเปลี่ยน Desktop Environment Ubuntu Read More »

Google Map API / Markers

Markers คือ วิธีการนำ Google Maps มาใช้งานและปักหมุด Markers บนแผนที่บนพิกัดหรือตำเเหน่งที่ต้องการเเสดง เพื่อเเทนตำเเหน่งสถานที่ต่างๆ เช่น รถไฟฟ้า บ้าน โรงพยาบาล โค้ดสร้าง Google map / Markers บน web application อย่างง่ายๆ <!DOCTYPE html> <html>   <head>     <meta name=”viewport” content=”initial-scale=1.0, user-scalable=no”>     <meta charset=”utf-8″>     <title>Simple markers</title>     <style>       html, body {         height:

Google Map API / Markers Read More »

Google Map API / Geolocation

Geolocation   เป็นการระบุพิกัด latitude, longitude ในแผนที่ภูมิศาสตร์หรือพิกัดของโลก ด้วยคำสั่ง javascript  โดยผ่านเครื่องมือที่สามารถต่อเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ความแม่นยำขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้เปิดเว็บไซต์ เช่น โทรศัพท์มือถืออย่าง android, iphone จะมี gps ให้ใช้ และ gps นี้จะช่วยให้ระบุพิกัดได้อย่างแม่นยำมาก โค้ดสร้าง Google map / geolocaion บน web application <!DOCTYPE html> <html>   <head>     <title>Geolocation</title>     <meta name=”viewport” content=”initial-scale=1.0, user-scalable=no”>     <meta charset=”utf-8″>     <style>       html, body {  

Google Map API / Geolocation Read More »

วิธีติดตั้ง Font บน Ubuntu

วิธีติดตั้ง Font บน Ubuntu Desktop

วิธีติดตั้ง Font บน Ubuntu วิธีการลง font ใน ubuntu นั้นก็ไม่ยากเย็นนัก หลังจากที่ download font มาจากที่ต่างๆจะได้ไฟล์นามสกุล .ttf มาซึ่งเป็นไฟล์ font ในการติดตั้งก็ไม่ยากเพียงแค่double clickที่ไฟล์ดังกล่าวแล้ว จะเปิดโปรแกรม font viewer ขึ้นมา  ไปที่มุมด้านขวา คลิ๊กเลือก install เป็นอันเสร็จพิธี ถ้าเราต้องการติดตั้งเพียงไม่กี่font คงไม่ใช่ปัญหา แต่!!! ถ้าเราต้องการติดตั้งเยอะๆละ การจะมาคลิ๊กเลือก install ทีละ font คงไม่สนุกเป็นแน่ เราก็จะมี  วิธีให้เลือกดังนี้ ติดตั้งผ่าน font-manager    สำหรับการติดตั้งfont ผ่านfont-manager นั้น ต้องทำการติดตั้ง font-manager ก่อน [code language=”shell”] sudo apt-get install font-manager [/code] เปิด font-manager

วิธีติดตั้ง Font บน Ubuntu Desktop Read More »

Refactor Code >> Replace Parameter with Method

การ Refactor Code แบบ Replace Parameter with Method คือการลดพารามิเตอร์โดยการนำ method เข้ามาช่วยในการเขียนโค้ด โดยมีตัวอย่างโค้ดดังนี้ (ภาษา Ruby)  แบบยังไม่ได้ทำการ Refactor Code [code] def get_price() base_price = quantity * item_price discount_level = ” if quantity &amp;gt; 100 discount_level = 2 else discount_level = 1 end final_price = discounted_price(base_price, discount_level) return final_price end private def discounted_price(base_price, discount_level) if discount_level == 2

Refactor Code >> Replace Parameter with Method Read More »